EAED2202 กลุ่ม122 การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
วันพฤหัสบดีที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2561
วันเสาร์ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2560
ครั้งที่ 6 วันพฤหัสบดีที่ 19 เดือนตุลาคม พ.ศ.2560 เวลา 12:30 - 17: 30 น.
ครั้งที่ 6 วันพฤหัสบดีที่ 19 เดือนตุลาคม พ.ศ.2560 เวลา 12:30 - 17: 30 น.
วันนี้เป็นการโฆษณาขายสินค้า เพื่อนๆต่างหยิบสิ่งของในตัวออกมานำเสนออย่างสนุกสนานและมีวิธีการนำเสนอที่แตกต่างกัน
↳ การเล่นด้วยประสาทสัมพัทธ์ทั้ง 5 การลงมือกระทำอย่างอิสระ ⇒ การเรียนรู้
3. ความปลอดภัยของเด็ก
4. เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม
ต่อมาอาจารย์ให้วาดรูปอะไรก็ได้ลงไปในกระดาษ และหลังจากนั้นอาจารย์จับกลุ่มให้ และนำภาพที่ตัวเองและเพื่อนในกลุ่มวาดมาแต่งเป็นเรื่องราว หรือเป็นนิทาน
ประเมินตัวเอง : กล้าพูด กล้าตอบคำภามมากกว่าครั้งก่อน และรู้สึกว่าวันนี้เป็นการเรียนที่สนุกมาก เพราะมีการเสนอขายสินค้า
ประเมินเพื่อน : ทุกคนมีวิธีการนำเสนอ การพูดที่ต่างกัน ขึ้นอยู่กับสิ่งของชิ้นนั้น
ประเมินผู้สอน : อาจารย์มีการยกตัวอย่างทำให้ทราบและเข้าใจความหมายของการเรียนรู้มากขึ้น
วันนี้เป็นการโฆษณาขายสินค้า เพื่อนๆต่างหยิบสิ่งของในตัวออกมานำเสนออย่างสนุกสนานและมีวิธีการนำเสนอที่แตกต่างกัน
การโฆษณานี้เป็นการโน้มน้าวจากน้ำเสียง ให้ทราบสรรพคุณ ราคา / วิธีการ ลด แลก แจก แถม อาศัยการคิดคำพูดในการนำเสนอขายสินค้า และภาษาก็ยังขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของแต่ละบุคคลด้วย
➤ ภาษาต้องเหมาะสมกับพัฒนาการ โดยยึดความแตกต่างของเด็ก
➤ การเล่น เป็นวิธีการเรียนรู้ของเด็ก↳ การเล่นด้วยประสาทสัมพัทธ์ทั้ง 5 การลงมือกระทำอย่างอิสระ ⇒ การเรียนรู้
⇓
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
การเรียนรู้
↳ กระบวนการของประสบการณ์ที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างค่อนข้างถาวร
↳ กระทำกับวัตถุ ถ้าเป็นอิสระเรียกว่า ⏭ การเล่น ⏮
การเลือกเรื่องของการเรียนการสอน
1. เรื่องใกล้ตัว
2. เรื่องที่เด็กสนใจ3. ความปลอดภัยของเด็ก
4. เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม
ต่อมาอาจารย์ให้วาดรูปอะไรก็ได้ลงไปในกระดาษ และหลังจากนั้นอาจารย์จับกลุ่มให้ และนำภาพที่ตัวเองและเพื่อนในกลุ่มวาดมาแต่งเป็นเรื่องราว หรือเป็นนิทาน
การทำกิจกรรมนี้เป็นการเปิดโอกาสให้เพื่อนทุกคนทีส่วนร่วมในการคิดมีส่วนในการเชื่อมโยงข้อมูลด้วยกันแถมยังเป็นการเพิ่มประสบการณ์ของการใช้ภาษาด้วย
ประเมินตัวเอง : กล้าพูด กล้าตอบคำภามมากกว่าครั้งก่อน และรู้สึกว่าวันนี้เป็นการเรียนที่สนุกมาก เพราะมีการเสนอขายสินค้า
ประเมินเพื่อน : ทุกคนมีวิธีการนำเสนอ การพูดที่ต่างกัน ขึ้นอยู่กับสิ่งของชิ้นนั้น
ประเมินผู้สอน : อาจารย์มีการยกตัวอย่างทำให้ทราบและเข้าใจความหมายของการเรียนรู้มากขึ้น
ครั้งที่ 7 วันพฤหัสบดีที่ 2 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2560 เวลา 12:30 - 16:30 น.
ครั้งที่ 7 วันพฤหัสบดีที่ 2 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2560 เวลา 12:30 - 16:30 น.
การเรียนในวันนี้ เป็นการเรียนที่เน้นการสร้างองค์ความรู้โดยการสร้างมายแมบ และให้ทำในหัวข้อ กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการทางภาษา ฟัง พูด อ่าน เขียน
หลังจากที่ทำงานเสร็จก็ถึง่วงเวลาการนำเสนองาน อาจารย์จินตนาถามว่า ฟัง พูด อ่าน เขียน อันไหนคือ การรัับสาร และอันไหนคือ การส่งสาร
▶ ▶ ▶ ▶ ▶ ▶ ภาษากับการรับสารและการส่งสาร ภาษาเป็นสิ่งที่มีความสำคัญต่อมนุษย์เพราะทุกคนต้องใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการรับสารและการส่งสาร การเรียนรู้เพื่อเข้าใจคำและความหมายของภาษาอย่างละเอียดลึกซึ้ง ย่อมก่อให้เกิดความสำเร็จในการการติดต่อสื่อสารเป็นอย่างยิ่ง แต่ความสำเร็จดังกล่าวไม่ได้เพียงพูดกันรู้เรื่องเท่านั้น แต่ต้องขยายขอบเขตถึงระดับของการรับรู้รสของคำและความหมาย ◀ ◀ ◀ ◀ ◀ ◀
🔴กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการทางภาษา
🔼 การฟัง
- การฟังเสียงธรรมชาติ
- การฟังเสียงดนตรี
- การฟังข่าวสาร
- การฟังนิทาน
- การฟังเพลง
- การฟังข่าวสาร
🔼 การพูด
- การแนะนำตนเอง
- การเล่านิทาน
- การพูดตามจินตนาการ
🔼 การอ่าน
- การอ่านออกเสียง
- การอ่านนิทาน
- การอ่านตามลำพัง
- ฝึกอ่านคำกลอนจากครู
- ฝึกอ่านป้าย , ฉลาก
🔼 การเขียน
- การเขียนอากาศ
- การวาดรูปตามจินตนาการ
- การฝึกลากเส้น
- การระบายสี
ประเมินตนเอง : ยังไม่สามารถแยกการรับสารและการส่งสารไม่ได้ และยังไม่เข้าใจการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน ได้ดีเท่าที่ควร
ประเมินเพื่อน : เพื่อนต่างมีความเข้าใจที่ไม่ได้ต่างกัน ดังนั้นจึงต้องมีการศึกษาเพิ่มเติม
ประเมินครูผู้สอน : มีการอธิบาย พร้อมกับการบอกความหมายของ การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน ให้เข้าใจเกี่ยวกับเด็ก เพราะถ้าเราเข้สใจไปผิดๆอาจส่งผลกระทบต่อเด็กในอนาคตได้
ครั้งที่ 8 วันพฤหัสบดีที่ 9 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2560 เวลา 12:30 - 16:30 น.
ครั้งที่ 8 วันพฤหัสบดีที่ 9 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2560 เวลา 12:30 - 16:30 น.
วันนี้ไม่มีการเรียน การสอน แต่มีงานที่เป็นงานที่ใช้เทคโนโลยีเข้ามามีส่วนในการทำงานชิ้นนี้
คือ หนังสือนอทานอิเล็กโทรนิกส์ เป็นหนังสือนิทานที่แต่ละกลุ่มจัดทำขึ้นมาเพื่อ
พัฒนาเด็กให้ใช้ความคิด ให้มีจินตนาการในการทายอะไรเอ่ย
ประเมินตัวเอง : ตั้งใจทำงานครั้งนี้มากและได้รับประสบการณ์ใหม่มาอีกเยอะ
ประเมินเพื่อน : ตั้งใจทำงานและมีการเตรียมงานได้ค่อนข้างดี
ประเมินครูผู้สอน : มีการอธิบาย และมีการยกตัวอย่างในการสั่งการบ้าน
ครั้งที่ 10 วันพฤหัสบดีที่ 23 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2560 เวลา 12:30 - 16:30 น.
ครั้งที่ 10 วันพฤหัสบดีที่ 23 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2560 เวลา 12:30 - 16:30 น.
กิจกรรมในวันนี้เป็นการสร้างแผนผัง เรื่องที่ใกล้ตัว และปลอดภัยสำหรับตัวเด็ก โดยหัวข้อแต่ละอย่างต้องสอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ 4 ประการ
การจัดทำแผนผังความคิดต้องแบ่งพื้นที่เป็น 4 ส่วน ไล่จากหัวข้อใหญ่ไปหาหัวข้อเล็ก และให้มีการแตกรายละเอียดออกมาเรื่อยๆ เพื่อเป็นการจัดหน่วยการเรียนรู้ และวันนี้เป็นคาบสุดท้ายของการเรียนการสอน อาจารย์ได้ให้งานก่อนปิดคลาสคือ การให้จัดกิจกรรมแต่ละวัน โดยให้คิดหัวข้อกิจกรรมที่หลากหลาย และสุดท้ายคือการเขียนแบบประเมินในการเรียนในครั้งสุดท้าย
ประเมินตนเอง : มีความท้อในการเขียนแผนผังในครั้งแรก แต่พอมีแนวในการทำ ก็เริ่มเข้าใจ และทำได้ถูกต้องและเร็วขึ้น แต่อาจจะมีข้อผิดพลาดในเรื่องการขีดเส้นแผนผัง
ประเมินเพื่อน : เพื่อนทุกคนมีความพยายามในการทำแผน และคิดกิจกรรมในการเขียนแผน
ประเมินผู้สอน : อาจารย์มีติดประชุมในคาบนี้ทำให้เวลาในการเรียนอาจจะลดลง แต่การสอนก็ยังมีประสิทธิภาพอยู่ การสอนในวันนี้เป็นการสอนเขียนแผนผัง และทักษะในการคิดและเขียนแผนผัง อาจารย์สอนความสอดคล้องของการเรียงลำดับ
กิจกรรมในวันนี้เป็นการสร้างแผนผัง เรื่องที่ใกล้ตัว และปลอดภัยสำหรับตัวเด็ก โดยหัวข้อแต่ละอย่างต้องสอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ 4 ประการ
การจัดทำแผนผังความคิดต้องแบ่งพื้นที่เป็น 4 ส่วน ไล่จากหัวข้อใหญ่ไปหาหัวข้อเล็ก และให้มีการแตกรายละเอียดออกมาเรื่อยๆ เพื่อเป็นการจัดหน่วยการเรียนรู้ และวันนี้เป็นคาบสุดท้ายของการเรียนการสอน อาจารย์ได้ให้งานก่อนปิดคลาสคือ การให้จัดกิจกรรมแต่ละวัน โดยให้คิดหัวข้อกิจกรรมที่หลากหลาย และสุดท้ายคือการเขียนแบบประเมินในการเรียนในครั้งสุดท้าย
ประเมินตนเอง : มีความท้อในการเขียนแผนผังในครั้งแรก แต่พอมีแนวในการทำ ก็เริ่มเข้าใจ และทำได้ถูกต้องและเร็วขึ้น แต่อาจจะมีข้อผิดพลาดในเรื่องการขีดเส้นแผนผัง
ประเมินเพื่อน : เพื่อนทุกคนมีความพยายามในการทำแผน และคิดกิจกรรมในการเขียนแผน
ประเมินผู้สอน : อาจารย์มีติดประชุมในคาบนี้ทำให้เวลาในการเรียนอาจจะลดลง แต่การสอนก็ยังมีประสิทธิภาพอยู่ การสอนในวันนี้เป็นการสอนเขียนแผนผัง และทักษะในการคิดและเขียนแผนผัง อาจารย์สอนความสอดคล้องของการเรียงลำดับ
ครั้งที่ 9 วันพฤหัสบดีที่ 16 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2560 เวลา 12:30 - 16:30 น.
ครั้งที่ 9 วันพฤหัสบดีที่ 16 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2560 เวลา 12:30 - 16:30 น.
วันนี้เป็นการส่งงานจากครั้งที่แล้ว และฟังคำแนะนำเพิ่มเติมจาก อาจารย์จินตนา งานของเพื่อนๆแต่ละคนที่ทำมามีความน่ารัก และได้การคิดว่า สิ่งที่เพื่อนนำมาคืออะไร พร้อมทั้งได้เทคนิกใหม่ๆจากเพื่อนแต่ละกลุ่มด้วย
วันนี้เป็นการส่งงานจากครั้งที่แล้ว และฟังคำแนะนำเพิ่มเติมจาก อาจารย์จินตนา งานของเพื่อนๆแต่ละคนที่ทำมามีความน่ารัก และได้การคิดว่า สิ่งที่เพื่อนนำมาคืออะไร พร้อมทั้งได้เทคนิกใหม่ๆจากเพื่อนแต่ละกลุ่มด้วย
ต่อมาเป้นการพับไปเล่าไปกับนิทานเรื่อง ดวงดาว เป็นการเล่าไป และวาดรูปดาว พร้อมเรื่องราวที่ไปเจออุปสรรคแล้วฉีกกระดาษไปเรื่อยๆจนเป็นเรื่องราวนิทานที่สนุกสนาน พอจบเรื่องก็คลี่กระดาษออกมา ปรากฎว่าเป็นรูปปลา
ประเมินตนเอง : มีการลองผิดลองถูกในการทำกิจกรรมในวันนี้ และดีใจที่ได้มีโอกาสได้สอนเพื่อนทำกิจกรรมด้วย
ประเมินเพื่อน : เพื่อนแต่ละคนมีความพยายามในการทำกิจกรรม และหวังว่าความพยายามจะส่งผลทำให้เพื่อนทำงานชิ้นนิทานได้สำเร็จเช่นกัน
ประเมินครูผู้สอน : อาจารย์น่ารัก เป็นกันเอง มีการพูดคุยที่สนุกสนาน บทจะเข้าเนื่อหาก็จริงจัง ชอบการเล่านิทานที่เล่าไปฉีกไป ทำให้ทราบวิธีการสอนที่แปลกใหม่ขึ้น
ครั้งที่ 5 วันพฤหัสบดีที่ 12 เดือนตุลาคม พ.ศ.2560 เวลา 13:30 - 17:30 น.
ครั้งที่ 5 วันพฤหัสบดีที่ 12 เดือนตุลาคม พ.ศ.2560 เวลา 13:30 - 17:30 น.
วันนี้อาจารย์จินตนาให้เราฟังเสียงเครื่องดนตรี ว่ามีอะไรบ้าง และให้บอกเสียงที่ได้ยิน รอบแรกพวกเราฟังโดยไม่มีการจดบันทึกทำให้ผลที่ออกมาคือ บอกชื่อเครื่องดนตรีเท่าที่ตนเองจำได้ และอาจารย์จินตนาให้ฟังอีกรอบแต่รอบนี้ต้องมีกระดาษมาจดว่าเสียงดนตรีที่ฟังมีอะไรบ้าง รอบนี้พวกเราตั้งใจฟังและมีการจดบันทึกเป็นขั้นเป็นตอน โดยเรียงลำดับเสียงเครื่องดนตรีดังนี้
⇒ ไวโอลิน
⇒ แซกโซโฟน
⇒ ฮาร์มอริก้า
⇒ ฉาบ
⇒ ทอมโบน
⇒ กีต้าร์
⇒ แอคคาเดียน
⇒ เปียโน
⇒ ทรัมเป็ด
⇒ ฟรุต
⇒ เบล
⇒ แตรเดี่ยว
⇒ วิโอล่า
⇒ ปี่สก็อต
สอนเรื่องการจัดประเภท
อะไรที่มีการสื่อสารเรียกว่าภาษา 🔺 เสียงทำให้เกิดอารมณ์ที่แตกต่างกัน
🔺 โทนเสียง ต่างกัน
🔺 เคยฟังมาก่อนเลยทำให้เกิดการลิงค์ข้อมูลหาเครื่องดนตรี
🔺 เกิดประสบการณ์ เป็นต้นทุนข้อมูลความรู้
และได้สอนเรื่องของรักของหวงของตัวเอง
⇒ คุณค่าของสิ่งของ
⇒ ความสัมพันธ์ของสิ่งของ
⇒ บุคคลที่ให้
⇒ ความเป็นมา / เรื่องราวของสิ่งเหล่านั้น
⇒ นึกถึงคนที่ให้
⇒ ได้บอกความรู้สึกให้เพื่อนรู้
⇒ ลำดับความสำคัญของสิ่งรักสิ่งหวง
วันนี้อาจารย์จินตนาให้เราฟังเสียงเครื่องดนตรี ว่ามีอะไรบ้าง และให้บอกเสียงที่ได้ยิน รอบแรกพวกเราฟังโดยไม่มีการจดบันทึกทำให้ผลที่ออกมาคือ บอกชื่อเครื่องดนตรีเท่าที่ตนเองจำได้ และอาจารย์จินตนาให้ฟังอีกรอบแต่รอบนี้ต้องมีกระดาษมาจดว่าเสียงดนตรีที่ฟังมีอะไรบ้าง รอบนี้พวกเราตั้งใจฟังและมีการจดบันทึกเป็นขั้นเป็นตอน โดยเรียงลำดับเสียงเครื่องดนตรีดังนี้
⇒ ไวโอลิน
⇒ แซกโซโฟน
⇒ ฮาร์มอริก้า
⇒ ฉาบ
⇒ ทอมโบน
⇒ กีต้าร์
⇒ แอคคาเดียน
⇒ เปียโน
⇒ ทรัมเป็ด
⇒ ฟรุต
⇒ เบล
⇒ แตรเดี่ยว
⇒ วิโอล่า
⇒ ปี่สก็อต
สอนเรื่องการจัดประเภท
อะไรที่มีการสื่อสารเรียกว่าภาษา 🔺 เสียงทำให้เกิดอารมณ์ที่แตกต่างกัน
🔺 โทนเสียง ต่างกัน
🔺 เคยฟังมาก่อนเลยทำให้เกิดการลิงค์ข้อมูลหาเครื่องดนตรี
🔺 เกิดประสบการณ์ เป็นต้นทุนข้อมูลความรู้
และได้สอนเรื่องของรักของหวงของตัวเอง
⇒ ความสัมพันธ์ของสิ่งของ
⇒ บุคคลที่ให้
⇒ ความเป็นมา / เรื่องราวของสิ่งเหล่านั้น
⇒ นึกถึงคนที่ให้
⇒ ได้บอกความรู้สึกให้เพื่อนรู้
⇒ ลำดับความสำคัญของสิ่งรักสิ่งหวง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)